แนวโน้มตลาดกระป๋องเครื่องดื่มอลูมิเนียมในสหรัฐอเมริกา นับจากนี้ ถึงปี คศ. 2026
Thank you for reading this post, don't forget to subscribe!

1). มาตรการล็อกดาวน์ขั้นสูงสุดของภาครัฐ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ทำให้เกิดการขาดแคลนวัตถุดิบที่จะใช้ในกระบวนการผลิตรวมทั้งการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน ที่เริ่มกันตั้งแต่กระบวนการจัดซื้อ,
การผลิต, การจัดเก็บ, การจัดจำหน่าย และการขนส่ง ไปจนถึงมือผู้บริโภคนั่นเองค่ะ ที่ต้องหยุดชะงักกันไป
2). ราคาของวัตถุดิบที่จะใช้ในการผลิตมีความผันผวน
3). การขาดแคลนแรงงานคน ในโรงงานผลิตกระป๋องเครื่องดื่มอลูมิเนียมก็เนื่องด้วยแรงงานในโรงงานได้กลายเป็นผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อไวรัสโควิด-19,
รวมทั้งอาจมีแรงงานบางรายที่ต้องกลายเป็นผู้ที่มีความเสี่ยงสูงที่ได้สัมผัสกับผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ก่อนหน้า จึงจำเป็นต้องถูกกักตัวเป็นระยะ
เวลาไม่ต่ำกว่า 2 สัปดาห์
4). งบประมาณที่เคยตั้งไว้ ว่าจะพอ กลับไม่พอ อันเนื่องจากวัตถุดิบที่จะใช้ในการผลิต รวมทั้งค่าใช้จ่ายต่างๆ มีราคาที่สูงขึ้น
5). อัตราการผลิตกระป๋องเครื่องดื่มอลูมิเนียมต้องลดกำลังการผลิตลงไป ในบางรายเหลือที่ 30-40 % เท่านั้น

1). กำจัดง่าย
2). สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้โดยการผ่านกระบวนการีไซเคิลนั่นเองค่ะ
3). น้ำหนักเบา อีกทั้งยังสามารถประหยัดต้นทุนในการขนส่งกันอีกด้วย
4). มันทำให้สินค้านั้น สร้างพลังดึงดูดความสนใจจากกลุ่มผู้บริโภคได้เป็นอย่างดี เมื่อถูกจัดวางเรียงรายอยู่บนชั้นวางสินค้าเพื่อรอการจำหน่ายค่ะ

1). กลุ่มผู้ผลิตเครื่องดื่มอัดแก๊ส (carbonated soft drinks) เช่นโซดา, น้ำอัดลม
2). กลุ่มผู้ผลิตเครื่องดื่มชูกำลัง (energy drink) ที่ให้พลังความสดชื่น
3). กลุ่มผู้ผลิตเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ (alcoholic beverage) เช่นเบียร์เป็นต้นค่ะ